นอกรั้วมหาวิทยาลัย
เว็บเพจสำรอง (Backup Webpages) : thaiabc.com | thaiall.korattown.com | perlphpasp.com | thaiall.com
ปรับปรุง : 2549-11-12 (กำลังอ่าน)
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
หนังสือ คู่มือ... เตรียมตัวเมื่อก้าวพ้นรั้วมหาวิทยาลัย
สำนักพิมพ์ปัญญาชน (Intellectuals) ISBN 974-93638-0-9 พิมพ์ครั้งที่ 1/2549
บรรณาธิการโดย รศ.ดร.ละเอียด จงกลนี เรียบเรียงโดยคณาจารย์ระดับปริญญาโท 35 ท่าน จากหลายสาขาอาชีพ
เว็บเพจหน้านี้ จัดทำขึ้น เพราะชื่นชมในนักเขียนทั้ง 35 คน .. เป็นความชอบส่วนตัว
ถ้าท่านใดมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเว็บเพจหน้านี้ .. แจ้งได้ที่ผู้ดูแลเว็บไซต์ 08-1992-7223
แต่รายละเอียดในเว็บเพจนี้จะไม่มากไปกว่านี้ .. ถ้าต้องการรายละเอียด .. ให้ซื้อหนังสือครับ

ถ้าพบข้อผิดพลาดในเว็บเพจนี้ แสดงว่าเกิดจากความผิดพลาดของทีมงานในเว็บไซต์นี้ (Human Error)
ขอให้ซื้อหนังสือจากร้านหนังสือใกล้บ้านมาใช้อ้างอิง เพราะหนังสือที่ รศ.ดร.ละเอียด จงกลนี เรียบเรียงไว้ เป็นต้นฉบับที่สมบูรณ์แล้ว

ทีมงานของเว็บไซต์นำเสนอเพียงหัวข้อ อาจพิมพ์ผิด ลดให้กระชับ แก้ไขให้เหมาะสม และเผยแพร่เพื่อการศึกษา ..
สารบัญ (เนื้อหาใช้หลักการเขียนแบบบัญญัติ 10 ประการ)
  1. การสร้างรอยประทับใจ
    (กฤตชยา วิเชียรเพริศ)
    1. แต่งการให้เหมาะสม
    2. มีนิสัยยิ้มง่าย
    3. มีอารมณ์ขัน
    4. ใช้คำพูดอย่างเหมาะสม
    5. มีความสุภาพอ่อนน้อม
    6. รู้จักใช้ภาษากาย
    7. รู้จักยืดหยุ่นได้
    8. มีความรู้สึกนึกคิดที่ดี
    9. ควบคุมอารมณ์ได้
    10. รู้สึกชอบเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
  2. การเสริมสร้างบุคลิกภาพ
    (ยุพาพรรณ คุณาธิปพงษ์)
    1. การสร้างเสริมความเชื่อมั่นในตัวเอง
    2. การสร้างเสริมด้วยการแต่งกายดี ถูกกาลเทศะ
    3. ความจริงใจ และเป็นมิตรกับผู้อื่น
    4. ความรอบรู้ รอบคอบ
    5. ความกระตือรือร้น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
    6. ความจำ ปฏิภาณไหวพริบ
    7. ความรับผิดชอบ และเข้มแข็งอดทน
    8. ความมีสติ สุขุม เยือกเย็น
    9. การมีสุขภาพใจดี
    10. การมีสุขภาพกายดี
  3. การสร้างมนุษยสัมพันธ์
    (ชาตรี ทองปาน)
    1. กล้า
    2. ยิ้ม
    3. ให้
    4. จำ
    5. การฟัง
    6. การพูด
    7. มั่นใจ
    8. ชนะใจ
    9. ขอบคุณ
    10. การยกย่องสรรเสริญ
  4. การเป็นนักพูดที่ดี
    (สมบัติแสงนา)
    1. การเตรียมการพูด
    2. การปลุกความกล้าหาญ
    3. การขจัดความกลัวจากจิตใจ
    4. การฝึกฝนหน้ากระจก
    5. การเตรียมตัวเพื่อความเชื่อมั่น
    6. บุคลิกภาพของนักพูด
    7. การสร้างบรรยากาศในการพูด
    8. ศิลปะการพูดที่ดี
    9. การพูดในวงสังคม
    10. ความสำเร็จในการพูด
  5. กการสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
    (ขนิษฐา โฉลกพันธ์รัตน์)
    1. รู้จักตนเอง
    2. ความเป็นตัวของตัวเอง และความกล้า
    3. จงสร้างความสามารถให้กับตน
    4. จะสะสมความสำเร็จไว้กับตนเองเสมอ ๆ
    5. จงปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่เป็นปัญหา
    6. จงเห็นคุณค่าของสิ่งดีที่ตนมีอยู่
    7. สร้างบุคลิกภาพที่ดี
    8. คิดในทางบวก
    9. ส่งเสริมความมั่นใจภายใน
    10. รู้จักวางตัว
  6. การสร้างมาด
    (ประคอง ภูถมศรี)
    1. สร้างมาดกับสิ่งที่มีติดตัวมา
    2. สร้างมาดด้วยเครื่องส่งเสริม หรือ เฟอร์นิเจอร์
    3. สร้างมาดด้วยเรื่องเครื่องตกแต่ง
    4. สร้างมาดด้วยการงดเว้น
    5. สร้างมาดขณะดื่มน้ำ และรับประทานอาหาร
    6. สร้างมาดจากการพูด
    7. สร้างมาดในการนั่ง การยืน การเดิน
    8. สร้างมาดด้วยสายตา
    9. สร้างมาดจากการฟัง
    10. สร้างมาดด้วยจิตใจ
  7. การทำให้เราเป็นคนไม่น่าเบื่อ
    (ปิยะชัย พัทศุระพงษ์)
    1. สร้างทัศนคติที่ดีต่อคนอื่น
    2. ให้ความเท่าเทียมกันต่อทุกคน
    3. ต้องมีสติ
    4. ไม่โกรธ และไม่เกลียดผู้อื่น
    5. สร้างมิตรที่ดีด้วยความรัก
    6. ความประพฤติดี
    7. ใช้แต่คำพูดไพเราะ
    8. ไม่คุยโวโอ้อวด
    9. ไม่เอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่
    10. น้อมรับคำตำหนิติเตียน
  8. การพัฒนาตนเอง
    (ชวลิต พรทวีวัฒน์)
    1. เก่งตนเอง
    2. เก่งคนอื่น
    3. เก่งงาน
    4. อาศัยความรู้ความสามารถ
    5. มีสิ่งแวดล้อมที่ดี
    6. รู้จักเสาะแสวงหาสิ่งใหม่ ๆ
    7. การสร้างขึ้นมาด้วยตนเอง
    8. การตั้งใจ และปฏิบัติจริง
    9. นำความเปลี่ยนแปลงในชีวิตไปสู่ความเจริญ
    10. ทำตนให้มีคุณค่า และเป็นที่ยอมรับของสังคม
  9. การเป็นวิทยากรที่ดี
    (พ.ต.ท.สัญญา สิงหะเดชะ)
    1. เตรียมการ
    2. เป็นกันเอง
    3. ไปถึงก่อนเวลา
    4. ช่างสังเกต
    5. กระตือรือร้น
    6. เชื่อมั่น
    7. มีความรู้
    8. บุคลิกลีกษณะดี
    9. ภาษา
    10. น้ำเสียง
  10. การทำงานร่วมกับบุคคลอื่นอย่างมีความสุข
    (อุไร ราชวิจิตร)
    1. ต้องเข้าใจคนอื่น
    2. ต้องคิดว่าคนอื่นหรือเพื่อนร่วมงานอื่น ๆ ชอบเรา
    3. มีความจริงใจ และเต็มใจในการทำงานร่วมกับคนอื่น
    4. สร้างความรู้สึกว่าสมาชิกคนอื่นมีค่า
    5. ยอมรับข้อบกพร่อม
    6. รับฟัง และยอมรับข้อคิดเห็นของคนอื่น
    7. สร้างความชื่นชมโดยไม่หวังผลตอบแทน
    8. รู้จักให้ความรัก และอุทิศตนเพื่อผู้อื่น
    9. รู้จักปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานให้น่าสนใจดึงดูด กระปรี้กระเปร่า และสดชื่นอยู่ตลอดเวลา
    10. ต้องพยายามติดต่อ และพูดคุยสนทนากับคนที่มีความสำเร็จในชีวิตการงาน
  11. การดำเนินชีวิต
    (สุพจน์ ไวพจน์)
    1. จงสร้างความหวังในชีวิตอย่างมีแผน
    2. มีบุคลิกลักษณะที่ดี
    3. การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
    4. เป็นคนทันสมัยอยู่เสมอ
    5. มีความเสียสละ
    6. รู้จักสร้างฐานะ
    7. มีความอดทด และอดกลั้น
    8. มีความขยันขันแข็ง
    9. รู้จักเกรงใจผู้อื่น
    10. สร้างงานอย่างมีคุณค่า
  12. การแก้ความน่าเบื่อหน่ายของคนอื่น
    (ประเวช รัตนวงศ์)
    1. จดจำชื่อ และนามสกุล
    2. ค้นหาสิ่งที่ดีในตัวเขา
    3. มองหาจุดเด่น และเอกลักษณ์ประจำตัว
    4. ชวนคุยในเรื่องตลกหรือสนุกสนานในวงสนทนาต่าง ๆ
    5. หยั่งรู้จิตใจคนด้วยการคุยในสิ่งที่น่าสนใจ
    6. ยิ้ม
    7. จงช่วยให้คนอื่นเกิดความมั่นใจในตัวเอง
    8. จงเป็นกระจกเงาให้แก่เขา
    9. เงียบ
    10. หนี
  13. การขจัดความเครียด
    (พ.ต.ต.จรูญ นวมทอง)
    1. ให้มีความพึงพอใจในตนเอง
    2. ให้มองโลกในแง่ดี
    3. ให้ค้นหาข้อดีของตนเอง
    4. ให้มีความยืดหยุ่นในชีวิต
    5. ให้พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ
    6. ให้รู้จักสร้างอารมณ์ขัน
    7. ให้เป็นผู้รู้จักการให้ และรู้จักการรับ
    8. ให้ทำกิจกรรมอื่นเพื่อคลายเครียด
    9. ให้รู้จักปลง และปล่อยวาง และระบายออกเสียบ้าง
    10. ให้รู้จักการเจริญสติ
  14. การพัฒนาจิตใจ
    (บุญคงศิลป์ วานมนตรี)
    1. รู้จักพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่
    2. ลดอบายมุขต่าง ๆ
    3. กระชับมิตร
    4. พิชิตอุปสรรค
    5. สร้างความรักในงาน
    6. สร้างความชื่นบานตั้งแต่เช้า
    7. ริเริ่มหาช่องทางใหม่
    8. สร้างความมั่นใจในตนเอง
    9. รู้จักรักษาสุขภาพอนามัยของตนเอง
    10. ทำจิตใจให้เป็นสมาธิ
  15. การครองชีวิตให้มีสุข
    (อุไรวรรณ สมบัตินันท์)
    1. สัจจะ
    2. ทมะ
    3. ขันติ
    4. จาคะ
    5. เมตตา
    6. กรุณา
    7. มิทุตา
    8. อุเบกขา
    9. ความขยันขันแข็ง
    10. การประหยัด
  16. การทำงานให้ประสบความสำเร็จ
    (กนกอร ยศไพบูลย์)
    1. กำหนดโครงร่างว่าจะดำเนินการอย่างไร และควรจะถึงจุดไหนเมื่อทำงานครบปี
    2. ตรวจสอบตัวเองเป็นระยะ
    3. กำหนดเป้าหมาย และการทำงาน
    4. เลือกผู้ร่วมงานที่สามารถทำงานดีที่สุด และให้แรงจูงใจแก่เขา
    5. มีทัศนคติ มีความกระตือรือร้น และจงภูมิใจในงานที่ทำ
    6. มอบหมายงาน หน้าที่ ความรับผิดชอบให้คนอื่นบ้าง
    7. จัดเวลาให้เหมาะสม
    8. พัฒนาทักษะในการติดต่อสื่อสาร
    9. พัฒนาทักษะในการตัดสินใจ และแก้ปัญหา
    10. ทำร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง โดยการออกกำลังกายอยู่เสมอ
  17. การสร้างความสำเร็จในชีวิต
    (เทวรัฐ โตไทยะ)
    1. ปากเป็นเอก รู้จักประชาสัมพันธ์
    2. เลขแม่น มีข้อมูลพร้อม
    3. แผนเหมาะ การทำงานมีการวางแผน
    4. เจาะลึก รู้จริงเข้าใจงาน
    5. ฝึกจริง มีทักษะ ความชำนาญ ประสบการณ์
    6. ยิงถูกเป้า ตั้งเป้าหมายสู่คุณค่า
    7. เข้าถึง อยู่อย่างมีเพื่อน
    8. ตรึงให้นาน บริการประทับใจ
    9. หาญแก้ ปรับเปลี่ยนไปสู่ความเหมาะสม
    10. แพ้เป็น ชัยชนะแห่งความสำเร็จ
  18. การก้าวสู่จุดสูงสุดที่มนุษย์ต้องการ
    (นรินทร์ อามาตย์)
    1. แสวงหาความร่วมมือ
    2. มีกิริยาน่าเชื่อถือ
    3. ฟัง และพูดให้เป็น
    4. มองผู้อื่นในแง่ดี
    5. ยิ้มแย้มพาทีฉันท์มิตร
    6. มีมาตรฐานที่ใช้นำพฤติกรรม
    7. รู้จักวิพากษ์วิจารณ์
    8. เพิ่มบริวารสนมสนิท
    9. จงทำงานให้สำเร็จ
    10. เห็นคุณค่าของการเป็นมนุษย์
  1. การเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่ดีเยี่ยม
    (ธวัชชัย ศรีภูมิสวัสดิ์)
    1. ปฏิบัติตามนโยบายอย่างเคร่งครัด
    2. ปฏิบัติตนอยู่ในกฎ ระเบียบ และวินัยของหน่วยงาน
    3. มีความขยัน ละเอียดรอบคอบ และรวดเร็วในการปฏิบัติงาน
    4. มีความรับผิดชอบ และตรงต่อเวลา
    5. ใฝ่ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ
    6. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
    7. มีลักษณะเป็นผู้นำ
    8. รู้จักผู้บังคับบัญชาของตน และรู้ว่าจะทำงานร่วมกับเขาให้ดีที่สุดได้อย่างไร
    9. ทำงานอย่างมีระบบ และปฏิบัติได้ครบถ้วนตามขอบข่ายของงานในหน้าที่
    10. ประเมินผลงาน และแก้ไขปรับปรุงที่ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องพร้อมทั้งสรุปรายงานต่อผู้บังคับบัญชา
  2. การสื่อความหมายกับบุคคลอื่น
    (วรรณี เสือบัว)
    1. มีศิลปะ
    2. คิดก่อนพูดหรือกระทำ
    3. จริงใจ
    4. มีความเรียบง่าย ชัดเจน
    5. ถูกกาลเทศะ
    6. เรียนรู้
    7. หลีกเลี่ยงการอารมณ์เสีย
    8. ยิ้ม
    9. ไม่รีบด่วนให้ความเห็น และประเมินผู้อื่น
    10. ไม่พูดมากเกินไป
  3. การเป็นผู้บริหารชั้นยอด
    (เกษม หล้ากวนวัน)
    1. มีความสามารถในการนำ และทำงานเป็นทีม
    2. มีความสามารถในการสื่อสาร
    3. มีความสามารถในการสื่อสาร
    4. มีความสามารถในการจัดการตนเอง
    5. เป็นผู้มีคุณภาพในตนเอง
    6. รู้จักคน
    7. สร้างความยืดหยุ่นภายในกลุ่ม
    8. เน้นความเป็นเลิศ
    9. เป็นผู้สามารถเรียนเทคนิคการจูงใจคน
    10. ประเมินความสำเร็จ
  4. การทำให้คนรักองค์การ
    (ชัยวิรัตน์ ทัศนจินดา)
    1. ชื่อเสียงขององค์การ
    2. ผู้นำ
    3. เงินเดือน
    4. สวัสดิการ
    5. ตำแหน่ง
    6. ความก้าวหน้า
    7. ความมั่นคง
    8. บำเหน็จความชอบ
    9. การจูงใจ
    10. ทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
  5. การตัดสินใจ
    (มนัสชัย ห้อทา)
    1. เป็นคนที่เปิด
    2. เป็นเลิศทางปฏิภาณ
    3. เชี่ยวชาญปัญญา
    4. ไม่นำพาอคติ
    5. ริเริ่มสร้างสรรค์
    6. คิดการณ์ก้าวไกล
    7. ใช้ความมีเหตุผล
    8. เป็นคนเด็ดเดี่ยว
    9. เกี่ยวข้องข่าวสาร
    10. ทำงานเป็นระบบ
  6. การลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชา
    (สุวัตน์ ประเสริฐสังข์)
    1. ต้องแน่ใจว่ารู้ข้อเท็จจริงถูกต้องครบถ้วนดีแล้ว
    2. ต้องกระทำเป็นการส่วนตัว
    3. ต้องรู้จักลูกน้องให้ดีพอ
    4. ต้องกล่าวโทษเขาด้วยการพูดจาอย่างมีเหตุมีผล
    5. ต้องระมัดระวังในการใช้ภาษา
    6. อย่าตำหนิตัวเขา จงตำหนิผลงานของเขา
    7. จงเขียนจดหมายตำหนิโทษเขา เมื่อเขาเคยถูกล่าวด้วยวาจามาแล้วครั้งหนึ่ง
    8. จงเปลี่ยนงานใหม่ให้เขาทำอีกครั้ง
    9. งดบำเหน็จด้วยความชอบที่เขาควรจะได้เหมือนกับเพื่อนร่วมงานคนอื่น ๆ
    10. จงบอกเขาว่าเขามีความรู้ความสามารถมากเกินกว่าที่หน่วยงานของเราจะรับไว้ทำงานในตำแหน่งอีกต่อไป
  7. การตำหนิผู้ใต้บังคับบัญชา
    (อุทัย ภูห้องไสย)
    1. ต้องรู้ข้อเท็จจริงมากที่สุด
    2. จังหวะถูกต้อง
    3. ควรทำเป็นการส่วนตัว
    4. กระทำด้วยความระมัดระวังมากที่สุด
    5. น้ำเสียงนุ่มนวล
    6. ติเพื่อก่อ
    7. กระทำด้วยใจเป็นธรรม และเป็นกลางมากที่สุด
    8. การตำหนิ
    9. อย่าตำหนิซ้ำซาก
    10. เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการพิจารณาเรื่องที่ถูกตำหนิ
  8. การเป็นนักบริหารเวลาที่ดี
    (สุนทร พรหมไท)
    1. การวางแผนเวลา
    2. การควบคุมเวลา
    3. ทำตารางแบ่งเวลา
    4. จัดลำดับความเร่งด่วน
    5. ระบบการจัดเก็บเอกสาร
    6. การประชุม
    7. ความเครียด และความกดดัน
    8. หลีกเลี่ยงการสังคมที่มากเกินไป
    9. การผัดวันประกันพรุ่ง
    10. การปรับพฤติกรรม
  9. การสร้างขวัญให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
    (พ.ต.ท.ประวัติ เตียประพงษ์)
    1. ความเพียงพอของรายได้
    2. ความมั่นคง และปลอดภัยในการทำงาน
    3. ความยุติธรรมในหน่วยงาน
    4. การได้รับมอบหมายความรับผิดชอบ
    5. ความรู้ความสามารถของผู้บังคับบัญชา
    6. ความเป็นผู้นำของผู้บังคับบัญชา
    7. มีโอกาสได้ร่วมคิด
    8. การได้รับคำชมเชย นิยมยกย่อง หรือยอมรับนับถือ
    9. การได้รับสวัสดิการที่ดี
    10. การได้รับความรัก
  10. การสร้างหัวใจของกการบริการ
    (เผชิญ บุตรปาละ)
    1. มีการวางแผน
    2. สร้างสรรค์ทีมงาน
    3. ประชาสัมพันธ์
    4. รวดเร็ว ถูกต้อง
    5. ละ ลด เลิก งานที่ไม่จำเป็น
    6. มีความมั่นใจ แสวงหาจุดยืน
    7. สร้างเกราะป้องกัน
    8. มีคุณธรรม
    9. ประเมินผล
    10. ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
  11. การให้รางวัลลูกน้อง
    (อนุช ธรรมวรรณ)
    1. ให้เมื่อจำเป็น
    2. ให้ด้วยความจริงใจ
    3. ให้ผู้อื่นรับรู้ในเหตุผลที่ให้
    4. ให้ด้วยคำชม ยกย่องในที่สาธารณะ
    5. ให้ความเป็นธรรม ไม่ลำเอียง
    6. ไม่ให้รางวัล หรือชมเชยพร่ำเพรื่อ
    7. ให้ด้วยความพึงพอใจ
    8. ให้เพื่อสวัสดิภาพ
    9. ให้เพื่อพัฒนาคุณภาพ
    10. ให้ในโอกาสต่าง ๆ
  12. การบริหารงานบุคคล
    (บุญแช่ม ดู่ป้อง)
    1. เลือกสรรบุคคล
    2. กำหนดตำแหน่งหน้าที่ให้ชัดเจน
    3. ให้ค่าจ้าง
    4. ส่งเสริมสวัสดิการ
    5. จัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้ดี
    6. มีการติดต่อสื่อสารในองค์การ
    7. ให้ความสำคัญแก่ทุกคน
    8. ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการบริหารงาน
    9. ให้ความเป็นกกันเองกับทุกคน
    10. ให้มีความมั่นคงในงาน
  13. การอบรมพัฒนาบุคลากร
    (นิวัติ ศรีธรณ์)
    1. สนับสนุน
    2. แก้ปัญหา และส่งเสริม
    3. เป็นนักวางแผน
    4. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
    5. รู้เรื่องต่าง ๆ ที่ฝึกอบรมได้เป็นอย่างดี
    6. รู้กระบวนการ และปรัชญาของการฝึกอบรม
    7. มีความรู้จริง
    8. มีความพร้อม
    9. กระตือรือร้น และตื่นตัวเสมอ
    10. นำไปใช้
  14. การตัดสินบุคคลที่ได้ชื่อว่าพัฒนาแล้ว
    (มงคล เจตินัย)
    1. ท่าทาง และบุคลิกดี
    2. สุภาพอ่อนโยน สงบเสงี่ยม และถ่อมตน
    3. ตื่นตัวกระตือรือร้น
    4. อดทน ใจคอหนักแน่น
    5. ควบคุมตนเองได้
    6. เสียสละ และไม่เห็นแก่ตัว
    7. สังคมดี
    8. ใจกว้าง
    9. มองไกล
    10. ฉลาด รอบรู้
  15. การวิเคราะห์เหตุที่ทำให้ระบบข้าราชการไทยมีอาการน่าเป็นห่วง
    (พ.ต.ท.สุนทร ซ้ายสุพรรณ)
    1. ขาดการปลูกฝังให้ช่วยเหลือตนเอง
    2. งาน และการหาความสนุกสนานคือสิ่งที่ทำควบคู่กัน
    3. ชอบอิสระ
    4. ไม่ชอบทำงานที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน
    5. วินัยในการทำงาน
    6. ทำงานเป็นทีมล้มเหลว
    7. มุ่งประโยชน์ส่วนตัว
    8. เห็นแก่ตัว
    9. ขาดคุณธรรม
    10. ความสำเร็จที่ต้องการ
  16. การบริหารการเปลี่ยนแปลง
    (วิรัช เจริญเชื้อ)
    1. ควรทราบถึงสาเหตุ และความจำเป็น
    2. ต้องมีการวิเคราะห์ปัญหา
    3. ต้องทราบผลสะท้อนกลับ
    4. ต้องทราบผลดี
    5. ต้องพยายามลดความกดดัน
    6. ต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลง
    7. ต้องมีความชำนาญในการวินิจฉัยสิ่งต่าง ๆ
    8. ต้องมีเทคนิควิธีการ
    9. ต้องมีแผนเพื่อสร้างเสถียรภาพ และดำรงไว้
    10. ควรมีการประเมินผล
  17. การนำหน่วยงาน
    (นุกูล ศรีขลา)
    1. ต้องใส่ใจคนในหน่วยงาน
    2. การยกย่องบุคคลในหน่วยงาน
    3. พร้อมที่จะให้คำตอบ
    4. จงขอความร่วมมือ อย่าคาดคั้น เพื่อให้ได้รับควยามร่วมมือ
    5. ไม่เอาแต่ใจตัวเองเป็นใหญ่
    6. ควรรู้จักระงับอารมณ์
    7. เข้าใจความต้องการของคนในหน่วยงาน
    8. ปัญหาเรื่องคน และกลุ่ม
    9. อย่าทำตนเหนือคนอื่นมากเกินไป
    10. สิ่งมหัศจรรย์เกิดจากรอยยิ้ม
  18. การพิจารณาคนดี
    (ละเอียด จงกลณี)
    1. กตัญญูรู้คุณบิดา มารดา และบำรุงรักษาท่านให้มีความสุข
    2. มีศีลธรรม
    3. มีความประพฤติดี
    4. มีความขยันขันแข็ง
    5. มีการระงับดับความโกรธ
    6. มีการแสวงหาความรู้ที่จะพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
    7. ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
    8. มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
    9. มีความสามารถในการแยกแยะสิ่งถูก ผิด ดี ชั่ว
    10. แสวงหาความสุขที่สมบูรณ์
rspsocial
Thaiall.com